วันอังคารที่ 30 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

การบำรุงรักษา เครื่องกำเนิดไฟฟ้า สำรอง


การบำรุงรักษา

เครื่องกำเนิดไฟฟ้า  สำรอง

 

ตารางการบำรุงรักษาเครื่องกำเนิดไฟฟ้า  สำรอง

รายละเอียด
ตรวจเช็ค
1.สภาพทั่วไป (เดินตรวจดูรอบเครื่องยนต์)
2.ระบบหล่อเย็นเครื่องยนต์
3.ระบบน้ำมันเชื้อเพลิง
4.ระบบการนำอากาศและไอเสีย
5.ระบบน้ำมันหล่อลื่น
6.ระบบติดเครื่องยนต์
7.ระบบควบคุมเครื่องยนต์และปลอดภัย
8.ทุ่นเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
9.แผงสวิทซ์ควบคุม
10.การติดตั้งเครื่องกำเนิดไฟฟ้าการบำรุงรักษา
11.เปลี่ยนไส้กรองน้ำมันเครื่อง
12.เปลี่ยนไส้กรองน้ำมันหล่อลื่น, ทำความสะอาด
กรองหายใจและนำตัวอย่างน้ำมันไปทดสอบ
13.ทดสอบเทอร์โบชาร์จ,ระยะการตั้งลิ้นไอดี-
ไอเสียและการหมุนของลิ้นไอดี, ไอเสีย
14.ทดสอบสวิทซ์สัญญาณดับเครื่องยนต์ฉุกเฉิน
และเกจวัดต่างๆ
15.อัดจารบีลูกปืนท้ายทุ่นเครื่องกำเนิดไฟฟ้า
16.ทำความสะอาดโดยใช้เครื่องดูดฝุ่นแผงสวิทซ์
ควบคุมไฟฟ้า
17.เปลี่ยนเทอร์โมสตัท, สายพานและท่อยาง
18.เปลี่ยนแบตเตอรี่และสายพานไดชาร์จ
การบริการเมื่อจำเป็น
19.ทดสอบเครื่องกำเนิดไฟฟ้าด้วยโหลดเทียม
20.ทดสอบฉนวนความด้านทานด้วยมิเตอร์
เมกะโอห์ม
 
 
 
 
 
ทุกสัปดาห์
 
*
*
*
*
*
*
*
*
*
*
 
 
ทุกๆ เดือน
 
*
*
*
*
*
*
*
*
*
*
 
ทุก 1 ปี
 
*
*
*
*
*
*
*
*
*
*
*
*
 
*
 
*
 
*
*
 
 
ทุก 3 ปี
 
*
*
*
*
*
*
*
*
*
*
*
*
 
*
 
*
 
*
*
 
*
*

 



ตามปกติเครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่ใช้งานอย่างต่อเนื่อง
นั้น                               

ควรจะมีการบำรุงรักษาตามคู่มือการใช้และการบำรุงรักษา

 ซึ่งจะกำหนดระยะเวลาการตรวจเช็ค  และการ

บริการต่างๆ อาทิเช่น  กำหนดการเปลี่ยนน้ำมัน

หล่อลื่อ  หรือชิ้นส่วนที่หรอ  เป็นต้นแต่สำหรับ

เครื่องกำเนิดไฟฟ้าที่ติดตั้งเพื่อใช้เป็นเครื่องสำรอง

ยามฉุกเฉินนั้น  ถ้าหากทำตามการบำรุงรักษาตามคู่มือ

ดังกล่าว  บางจุดอาจจะเป็นการบำรุงรักษาที่มาก

เกินไป  ทำให้เกิดการสูญเปล่า  ในขณะที่บางจุดอาจ

เป็นการบำรุงรักษาที่น้อยเกินไปหรือไม่มีเลย  ซึ่งกรณี

ที่ขาดการบำรุงรักษาในจุดที่เครื่องต้องการ  ก็จะทำให้

เครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำรองไม่ปฏิบัติเมื่อไฟฟ้าดับ  ทำให้

เกิดผลเสียหายที่ใหญ่หลวงตามมา

        ดังนั้น จึงขอเสนอการบำรุงรักษาที่ถูกต้องและ

เหมาะสมและประหยัดที่สุดสำหรับเครื่องกำเนิดไฟฟ้า

สำรอง  ซึ่งควรจะจัดโปรแกรมตามระยะเวลาต่อไปนี้

-ทุกสัปดาห์

-ทุก  1  เดือน

-ทุก  1  ปี

-ทุก  3  ปี
 

การตรวจเช็คเครื่องกำเนิดไฟฟ้า

ประจำสัปดาห์

ปกติ
ผิดปกติ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ปกติ
ผิดปกติ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
ปกติ
ผิดปกติ
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 

 

1.                  ก่อนติดเครื่องยนต์

1.1         เดินตรวจรอบๆ ตัวเครื่อง หาสิ่งผิดปกติ

1.2         ระดับน้ำมันหล่อลื่น  (จากเหล็กวัดด้านเครื่องยนต์ดับ)

1.3         ระดับน้ำหล่อเย็น

1.4         ระดับอุ่นน้ำหล่อเย็น

1.5         ระดับน้ำยาแบตเตอรี่

1.6         ขั้วแบตและสายแบตเตอรี่

1.7         ชุดชาร์จแบตเตอรี่

1.8         ถังน้ำมันเชื้อเพลิง

1.9         สภาพกรองอากาศ

1.10   สายพานพัดลม, หม้อน้ำ

1.11   เกจ์วัดด้านเครื่องยนต์ และแผงควบคุมเครื่องกำเนิดไฟฟ้า

1.12   สายเมนต์ และสาย  CONTROL

 

2.               ขณะเครื่องยนต์ติด

2.1         เดินตรวจรอบๆ ฟังเสียงผิดปกติและการเปิดบานเกล็ด

2.2         ระดับน้ำมันหล่อลื่น  ( จากเหล็กวัดด้านเครื่องยนต์ติด )

2.3         แรงดันน้ำมันหล่อลื่น

2.4         แรงเคลื่อนไฟฟ้า  400  โวลท์

2.5         ความถี่ไฟฟ้า  50HZ

2.6         อุณหภูมิหล่อเย็น

2.7         ความเร็วรอบเครื่องยนต์  1500 RPM 

 

3.               ขณะเครื่องยนต์ดับ

3.1         สวิทซ์เครื่องยนต์ต้องอยู่ตำแหน่ง  “AUTO”

3.2         ระดับน้ำมันเชื้อเพลิงเกิน ¾ ของถัง

3.3         กระแสชุดชาร์จแบตเตอรี่

3.4         รายงานของการตรวจเช็ค  เพื่อแจ้งซ่อมอุปกรณ์ที่ผิดปกติ
 

-                    GENERATOR  SET  CONTROL  PANELS

-                    MAIN  CONTROL  PANEL

                                                                
 
 
PL    1.PANEL  LIGHT  ถูกควบคุมโดย  PANAL  LIGHT  ON / OFF  SWITCH  ( PLS )  (9)

GS    2.GOVERNOR  SWITCH  OR SPEED  POTENTIONMETER  ใช้เพิ่มหรือลดรอบของเครื่องยนต์

SAS 3.START  AID  SWITCH  ใช้สำหรับอุ่นเครื่องเครื่องยนต์ก่อนสตาร์ท  ( ใช้ในเมืองหนาว )

ECS  4.ENGINE  CONTROL  SWITCH  ใช้กำหนดสภาวะของชุดควบคุมเครื่องกำเนิดไฟฟ้า

                -ในตำแหน่ง  AUTOMATIC  ( ที่ 3 นาฬิกา )  เครื่องยนต์ที่จะ  START  เมื่อ  CONTRACT  ถูก  CLOSED  และเครื่องยนต์จะดับเมื่อชุด  AUTO  CONTACT  ถูก  OPEN  และจากเครื่องยนต์   นับเวลา  COOLDOWN  ประมาณ  5  นาที

                -ในตำแหน่ง  MANUAL  ( ที่ 6 นาฬิกา )  เครื่องยนต์จะ  START  และ  RUN  ต่อเนื่องในตำแหน่งนี้

                -ในตำแหน่ง  STOP  ( ที่ 9 นาฬิกา )  เครื่องยนต์จะดับหลังจากโปรแกรม  COOLDOWN  จับเวลาครบ  5  นาทีแล้ว

                -ในตำแหน่ง  OFF / RESET  ( ที่  12  นาฬิกา )  เพื่อ  RESET  FAULT  LIGHT

ALM  5.ALARM  MODULE

VAR  6.VOLTAGE  ADJUST  RHEOSTAT

ESPB7.EMERGENCY  STOP  PUSH  BUTTON  ใช้เพื่อดับเครื่องยนต์กรณีฉุกเฉิน

GSC  8.GENERATOR  SET  CONTROL

PLS  9.PANEL  LIGHT  SWITCH
 


-                    FAULT  INDICATORS



              


-                    FAULT  INDICATOR  ตำแหน่งติดตั้งอยู่ส่วนหน้าของแผงควบคุมถูกใช้ในกรณีที่เกิด  FAULT  ในกรณีต่างๆ

                      



                
      


-                    โดยที่  FAULT  ALARM  INDICATOR  สีเหลืองกระพริบเมื่อแผงควบคุมตรวจพบสิ่งผิดปกติที่เป็นสภาวะของ  ALARM  โดยที่เครื่องยนต์ยังคง  RUN  และ  START  ต่อไปได้  FAULT  ALARM  จะกระพริบพร้อมทั่วโชว์  ALARM  CODE  ที่จอด้านบนเมื่อ  ALARM  CODE  ถูกกดเพื่อให้โชว์

                



        
                 


                FAULT  SHUTDOWN  INDICATOR  สีแดงกระพริบเมื่อแผงควบคุมตรวจเช็คพบความผิดปกติที่เป็นสภาวะ  SHUNTDOWN  เครื่องยนต์จะดับ  ถ้ากำลังทำงานอยู่  และจะไม่สามารถ  START  ใช้งานได้อีกพร้อมทั้งจะโชว์  DIAGNOSTIC  FAULT  CODE  ที่จอด้านบน





                                                                    


                เมื่อ  GSC  ตรวจเช็คพบ  FAULT 1 ใน 6  นี้  เครื่องยนต์จะดับถ้ากำลังทำงานอยู่  พร้อมทั้ง  FAULT  INDICATOR  จะกระพริบสีแดงบอกในตำแหน่งต่างๆ  และจะไม่สามารถ  START  ใช้งานได้อีกจนกว่าจะแก้ปัญหาเหล่านั้นแล้ว

1.LOW  OIL  PRESSURE  เมื่อเราดับเครื่อง  น้ำมันเครื่องจะตกต่ำลงถึงระดับค่าที่ตั้งไว้ใน  GSC  ( 30 PSI )

2.EMERGENCY  STOP  ใช้ในกรณีดับเครื่องฉุกเฉิน

3.HIGH  WATER  TEMPERATOR  เมื่อความร้อนของเครื่องยนต์สูงขึ้นถึงค่าที่ถูกตั้งไว้ใน  GSC (225ํ F ) 

4.ENGINE  OVERSPEED  เมื่อรอบของเครื่องยนต์สูง  ถึงค่าที่ตั้งไว้ใน  GSC  (1800 RPM )

5.LOW  COOLANT  LEVEL  ( OPTIONAL )  เมื่อระดับน้ำในหม้อน้ำต่ำถึงค่าที่กำหนด

6.OVERCRANK  เมื่อเครื่องยนต์ไม่สามารถ  START  ได้ในเวลาที่กำหนดไว้ใน  GSC  ( START  10  DEC , STOP  10  SEC  5  ครั้ง  รวม 50 SEC )

                                                                                                         

                -DISPLAY

-UPPER  DISPLAY 1  แสดง  AC  VOLTAGE , CURRENT  และ  FREQUENCY  แต่ละเฟสสามารถเช็คได้ด้วย  PHASE  SELECT 4  และยังใช้แสดง  FAULT  CODES  ด้วย

-LOWER  DISPLAY 2  แสดง  BATTERY  VOLTAGE  ชั่งโมงการทำงานของเครื่องยนต์ , รอบการทำงานเครื่องยนต์ , แรงดันน้ำมันเครื่องและความร้อนของเครื่องยนต์  ค่าเหล่านี้จะแสดงอยู่ประมาณ  2  วินาที  และจะเลื่อนไปโชว์ค่าต่างๆ ต่อไปแต่สามารถหยุดดูค่าเหล่านี้ได้ด้วยการกดไปที่  ENGINE  METER  KEY 3  ค่านั้นก็จะหยุดให้ดู  และจะสามารถเลื่อนดูค่าต่อไปได้ก็ด้วยการกดปุ่มเดิมซ้ำอีก  1 ครั้ง  ENGINE  METER  KEY 3

-THE  RELAY  STATUS  INDICATOR  อยู่บน  LOWER  DISPLAY  ด้วยเมื่อ  GSC  RERAY  ทำงานตำแหน่งการทำงานของ  ALARM จะถูกาแสดงขึ้น  เช่น  K1 , K2  เป็นต้น

-สำหรับในส่วนของ ALARM CODE ,  EXIT ,SERVICE  MODE  จะใช้เพื่อตั้งโปรแกรมใหม่ในกรณีที่มีการเปลี่ยนชุด  GSC  ใหม่

                KEYPAD

                                           


       



                KEYPAD 3  ถูกใช้เพื่อควบคุมรายการต่างๆ ที่จะแสดงบนจอภาพด้านบน  1  และจอภาพด้านล่าง  2

-LEFTMOST  KEY 4  ใช้ทำหน้าที่เฉพาะเมื่อ  GSC  อยู่ใน  SERVICE  MODE  โดยปกติจะไม่ถูกใช้งาน

-PHESE  SELECT  KET  5  ใช้เช็คแต่ละเฟสของ  PHASE  ของ  VOLTAGE ,CURRENT  และ  FREQUENCY

-ENGINE  METER  KEY  6  ใช้เพื่อควบคุม  LOWER  DISPLAY  2

-LAMP  TEST  KEY  7  ใช้เพื่อเช็ค  INDICATOR  ต่างๆ ว่าอยู่ในสภาพปกติ

-ALARM  CODE  KEY  8  ถ้า  FAULT  ALARM  INDICATOR  11  กำลังกระพริบกดไปที่  KEY  นี้

ALARM  CODE  จะโชว์ขึ้นที่จอภาพด้านบน

-EXIT  KEY  9  KEY  นี้ใช้ทำหน้าที่เฉพาะเมื่อ GSC  อยู่ใน  SERVICE  MODE

-SERVICE  MODE  KEY  10  ใช้เพื่อเข้าสู่โปรแกรมภายในโดยปกติจะไม่ถูกใช้งาน

Diagnostic  Faults

ดูข้อเพิ่มเติมได้ที่ Bsk Service